พระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม
พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ วัดระฆังฯ
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่
ชื่อพระเครื่อง | พระสมเด็จ พิมพ์ใหญ่ วัดระฆังฯ |
---|---|
อายุพระเครื่อง | 0 ปี |
หมวดพระ | พระสมเด็จ |
สถานะ | |
จำนวนคนชม | 270931 |
เข้าทำเนียบตั้งแต่วันที่ | ศ. - 06 พ.ค. 2554 - 13:13.06 |
แก้ไขข้อมูลล่าสุดเมื่อ | พ. - 08 มิ.ย. 2554 - 23:11.42 |
รายละเอียด | |
---|---|
ภาพทั้งหมดได้รับการเอื้อเฟื้อจาก www2.pt-amulet.com เพื่อให้เป็นแนวทางในการศึกษา ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ -------------------- พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พระประธาน หรือที่นิยมเรียกว่า พระพิมพ์ใหญ่ เป็นพระพิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในบรรดาพระสมเด็จวัดระฆังทั้ง ๔ พิมพ์ ด้วยความงดงามสง่าผ่าเผย ขององค์พระ และความสมบรูณ์สมส่วนขององศ์ประกอบโดยรวมขององค์ประกอบศิลป์ทั้งหมด ประกอบกับจำนวนพระที่มีปริมาณเหมาะสม จึงส่งผลให้พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์พระประธานนี้ นับเป็นสุดยอดของพระในตะกูลสมเด็จทั้งหมด - พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พระประธาน มีทั้งเนื้อละเอียด เนื้อหยาบ เนื้อแก่น้ำมันตังอิ๊ว หรือเนื้อสังขยา และเนื้อแก่ปูนในพระพิมพ์นี้ สามารถแยกแยะออกเป็น ๓ โครงสร้างใหญ่ด้วยกันโดยถือเอารูปร่างขององค์พระเป็นตัวกำหนด • พระพิมพ์ ๑ จะมีลักษณะที่ลำพระองค์หนา พระพักตร์ค่อนข้างกลมใหญ่ หรือเรียกว่า ( เอวหนา หน้าใหญ่ ) • พระพิมพ์ ๒ จะมีลักษณะที่ลำพระองค์หนา ส่วนพระพักตร์นั้น จะเรียวอูมตรงกลางและรูปพระพักตร์นั้นยาวกว่าพิมพ์แรก หรือที่เรียกว่ารูปพระพักตร์แบบ “ ผลมะตูมใหญ่ ” ( เอวหนา หน้ากลาง ) • พระพิมพ์ ๓ จะมีลักษณะที่ลำพระองค์บาง คอดหายไปตรงส่วนปลายรูปพระพักตร์จะเรียวอูมรีเล็กกว่าทุกพิมพ์ที่เรียกว่า “ ผลมะตูมเล็ก ” ( เอวบาง หน้าเล็ก ) - เนื่องจากแม่พิมพ์ของพระเป็นการสร้างด้วยมือ และมีหลายอัน จึงทำให้เกิดรูปร่างที่แตกต่างกันออกไปบ้าง แต่ยังคงเค้าโครงหลักดังกล่าวมาแล้ว ถึงกันนั้นความแตกต่างในส่วนของเค้าโครงก็มิได้มีผลต่อความแตกต่างเรื่องค่านิยม สิ่งที่ทำให้เกิดความแตกต่างในค่านิยมคือ ความสมบรูณงดงามขององค์พระ นับเป็นปัจจัยหลัก |