วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน - webpra

ประมูล หมวด:พระกริ่ง พระชัยวัฒน์

วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน

วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน
รายละเอียด
ชื่อพระเครื่อง วัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อน
รายละเอียดวัดใจชุบทองคำ//ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อนะวะแก่ทองแดงวัดบวรปลุกเสกวัดพระแก้วปี40สมเด็จญาณพระสังฆราชปลุกเสกเดี่ยวออกวัดปี40เก็บมาจนปี50
รายละเอียด ปลุกเสกวัดพระแก้วถึง2ครั้ง///องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อนะวะแก่ทองแดงวัดบวรปลุกเสกวัดพระแก้วปี40สมเด็จญาณพระสังฆราชปลุกเสกเดี่ยวออกวัดปี40เก็บมาจนปี50
รายละเอียด องค์นี้ที่เป็นด้านหลังล็อกเก็ตในหลวงปี50//พระยอดธงเนื้อนะวะแก่ทองแดงวัดบวรปลุกเสกวัดพระแก้วปี40สมเด็จญาณพระสังฆราชปลุกเสกเดี่ยวออกวัดปี40เก็บมาจนปี50
พระยอดธงนี้มีประวัติความเป็นมาว่ามูลนิธีศรีรัตนโกสินทร์ฃึ่งเป็นโรงพยาบาลโรครักษาฟอกไตแก่คนยากจนเมี่อปี2540ได้พระชุดนี้จากวัดบวรชึ่งสมเด็จญาณพระสังฆราชได้อนุญาติจัดสร้างหารายได้เข้าโรงพยาบาลและได้นำพระชุดนี้มาปลุกเสกอธิฐานจิตเดี่ยวโดยตัวท่านเองและยังเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่อุโบสถวัดบวรและวัดพระแก้วปี2540พร้อมกับพระวัดบวรในสมัยนั้น
หลังจานั้นมาเกือบสิบปียังมีพระตกค้างเหลืออยู่บางส่วนทางมูลนิธิจึงได้ขออนูญาติพระราชวังจัดสร้างล็อกเก็ตในหลวงที่มีพระยอดธงอยู่หลังล็อกเก็ตดังกล่าวฃึ่งทำพิธีปลุกเสกที่วัดพระแก้วกลางปี50นี้พระองค์จึงได้เท่ากับปลุกเสกวัดพระแก้วถึงสองครั้ง
แต่เนื่องจากเกิดขัดข้องทางเทคนิคคือมีการขออนุญาติเดิมไว้เป็นรูปแบบอย่างหนี่งจึงทำให้ต้องนำพระยอดธงออกมาดูรูปประกอบ
พระนี้จัดได้ว่าเป็นพระจำนวนสุดท้ายที่เหลืออยู่ไม่มากและได้หมดไปจากวัดอย่างรวดเร็ว
พระยอดธงนี้ถือเคล็ดไว้ตามโบราณว่ายอดธงเหมือนพบแต่ความสำเร็จทำการใตมีแต่ราบรื่นได้ชัยชนะทุกครั้งไป
พระชุดนี้เป็นพระยอดธงที่แกะออกจากล็อกเก็ตในหลวงปี50ของมูลนิธีและออกวัดสุทธารามรายได้หาเงินให้ร.พ.ฟอกไต มูลนิธิจัดสร้างเองไม่มีนายทุนเจตนาบริสุทธิ์
ก่อนนำเข้าพิธีปลุกเสกวัดพระแก้วครั้งที่2กลางปี50ยังได้นำพระยอดธงทั้งหมดเดินทางไปให้เกจิหลายท่านปลุกเสกเดี่ยวเช่น ครูบาน้อยวัดศรีดอนมูล พ่อท่านอุท้ยวัดดอนศาลา พ่อท่านเงินวัดโพรงงู
หลวงพ่อวัดสระแก้ว พัทลุง พ่อท่านพรหม พัทลุง เป็นต้น
ได้จากวัดเดิมๆจำนวนน้อย3026 3027 3030 re2
ตอนนี้มีกล่องวัดให้แล้วครับเป็นกล่องพิธีโดยตรงรับรองกล่องของแท้
พิธีปลุกเสกใหญ่ในวัดพระแก้ว เกจิหลายสิบองค์ ร่วมนั่งปรก และอีก 6พิธีใหญ่ ในแต่ละภาค
ประกอบพิธี 7 ครั้ง
ครั้งที่ 1 ประกอบพิธี ณ พระอุโบสถวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร จ.ลำพูน
ครั้งที่ 2 ประกอบพิธี ณ พระอุโบสถวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จ.เชียงใหม่
ครั้งที่ 3 ประกอบพิธี ณ พระอุโบสถวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร จ.สกลนคร
ครั้งที่ 4 ประกอบพิธี ณ พระอุโบสถวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร จ.นครพนม
ครั้งที่ 5 ประกอบพิธี ณ พระวิหารวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
จ.นครศรีธรรมราช โดย พระ สายเขาอ้อ
ครั้งที่ 6 ประกอบพิธี ณ อุโบสถวัดพลับ (บางกระจะ) จ.จันทบุรี
ครั้งที่ 7 ณวัด พระแก้ว อันศักดิ์สิทธ์ พร้อมคณาจารย์ ร่วมนั่ปรกอีกหลายสิบองค์


๑๑๑พระยอดธงพระชัยออกศีก๑๑๑
พระยอดธงที่พอทราบก็จะเห็นพระยอดธงที่ขี้นชื่อลือนามคือพระยอดธงวัดพลับหรือวัดบางกะจะ จันทบุรี
กล่าวกันว่าเมื่อสมเด็จพระจ้าตากสินจะยกทัพเข้าตีเมืองจันทบุรีได้สร้างพระยอดธงเอาฤกษ์ เอาชัย ฝังไว้ที่เจดีย์วัดแห่งนี้พอย่ำรุ่งก็ให้ทหารเตรียมพร้อมทุบหม้อข้าวหม้อแกงบุกเข้าเมืองจันทบุรีได้ชัยชนะ
การสร้างพระยอดธงนั้นเท่าที่เห็นมาพระราชาเป็นผู้สร้างและเชิญพระยอดธงนี้ติดอยู่บนยอดธงจริงๆ ที่เรียกกันว่าพระราชพิธีตรืงหมุด พระราชาต้องทรงศีลก่อนประกอบพิธีขณะพิธีเริ่มพระสงฆ์สวดเจริญพระคาถาตามเนติแบบที่กำหนดไว้ ปัจจุบันเรียกกันว่า ธงชัยเฉลิมพล ฃี่งพระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้พระราชทานให้เป็นขวัญกำลังใจสำหรับกองทัพนั้นๆเคยได้สดับมาว่าผู้ที่เป็นทหารที่เชิญธงชัยนี้แม้ตัวจะถูกอาวุธมีคมสิ้นชีพในสนามตัวจะล้มตายแต่ธงชัยล้มไม่ได้จะต้องมีทหารมารับช่วงเชิญธงชัยเฉลิมพลต่อไปจีงจะหมดหน้าที่ของผู้ที่เชิญธงชัยนั้น
ในรัชกาลที่๑ พระองค์ให้อัญเชิญพระชัยองค์หนื่งหน้าตักกว้างประมาณ ๑๕ ฃม หล่อด้วยเงินพระพุทธรูปองค์นี้ถือพัดยศ ชื่งนับเป็นพัดสมณศักดิ์อย่างหนี่งที่พระมหากษัตริย์ทรงโปรดถวายพระสงฆ์ ล้นเกล้ารัชกาลที่๑ ให้อัญเชิญพระพุทธรูปองค์นี้ขี้นประทับบนหลังช้างจืงเรียกกันว่า พระชัยหลังช้าง เพื่อเป็นมิ่งขวัญกำลังใจในกองทัพหรือใช้กระทำการสาบานถือสัตย์ปฎิญาณในกองทัพ ปัจจุบันก็ยังมีพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยาบันหรือที่เรียกกันว่า ดื่มน้ำสาบานตน พระพุทธรูปพระชัยหลังช้างนี้ได้สร้างจำลองออกมากเป็นเหรียญพระชัยหลังช้าง ๒ วาระแล้ว
สำหรับพระยอดธงนั้นนิยมสร้างเป็นพระพุทธรูปปางชนะมารหรือชนะศีก จากฐานองค์พระพุทธรูปจะมีเดือยเล็กน้อยเพื่อติดบนยอดธง ฃี่งต่างกันกับพระหูไห ที่ทหารคาดติดไว้กับตัวเอง
การสร้างพระยอดธงวัดสุทธารามครั้งนี้ได้ใช้ทองชนวนพระกริ่งปวเรศ และ เหรียญพระเกจิอาจารย์จำนวนมาก เหรียญดังกล่าวมานี้ได้เข้าพิธีพุทธาภิเษกหลายวาระโดยเฉพาะพิธีของสำนักวัดสุทธารามแล้วนำเหรียญทั้งปวงมาผสมผสานกับทองชนวนพระกริ่งพระเจ้าตากสิน เนื้อทองแดงนำมาสร้างพระยอดธงในครั้งนี้เพื่อเป็นมงคลขวัญกำลัวใจให้พื่น้องชาวพุทธลุกขี้นต่อสู้กับข้าศีกศัตรูให้ได้ชัยชนะเหมือนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทั้งปัจจุบันนี้ชาติบ้านเมืองต้องต่อสู้กับวิกฤติเศรษฐกิจ ต้อสู้กับภัยธรรมชาติ ต่อสู้กับยาบ้า ต่อสู้กับภัยมือที่มองไม่เห็น ขอพลังอานุภาพพระยอดธงอยู่กับบ้านเป็นมงคลกับบ้าน อยู่กับรถเป็นมงคลกับรถ อยู่กับเรือเป็นมงคลกับเรือ อยู่กัยเครื่องเป็นมงคลกับเครื่อง อยู่กับตัวกับเป็นมงคลกัยตัว อยู่ที่ไหนๆ ก็ชนะอุปสรรคทั้งปวงเหมือนหนี่งว่า จะแพ้เมื่อใดพระเจ้าตากสินวงเวียนใหญ่ก็ต้องเอาดาบลงฉะนั้นแล....... 8.6 1 5288 5289 5277 รูปกล่องพระ
23.001 0805 06
ราคาเปิดประมูล340 บาท
ราคาปัจจุบัน400 บาท (ถึงราคาขั้นต่ำ)
เพิ่มขึ้นครั้งละ60 บาท
วันเปิดประมูลพฤ. - 29 ก.ย. 2554 - 21:41.35
วันปิดประมูล อา. - 02 ต.ค. 2554 - 19:22.24 ปิดประมูล
ผู้ตั้งประมูล
แชร์หน้านี้
รายละเอียดราคาประมูล
ราคาปัจจุบัน 400 บาท (ถึงราคาขั้นต่ำ)
เพิ่มครั้งละ60 บาท
การประมูลพระเครื่องนี้ ถูกปิดโดยระบบแล้ว
เคาะประมูล
กรุณาทำการ เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการประมูลใดๆ
รายละเอียดผู้เสนอราคา
ผู้เสนอราคา ราคา เวลา
400 บาท (ถึงราคาขั้นต่ำ) ส. - 01 ต.ค. 2554 - 19:22.24
กำลังโหลด...
Top