ประมูล หมวด:จตุคามรามเทพ พ.ศ. 2530 ถึง 2549
"บันดาลโชคลานสกา" พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช ประธานพิธีจัดสร้างในปี พ.ศ.2546
ชื่อพระเครื่อง | "บันดาลโชคลานสกา" พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช ประธานพิธีจัดสร้างในปี พ.ศ.2546 |
---|---|
รายละเอียด | หัวหน้าคณะสงฆ์อำเภอลานสะกา หัวหน้าหน่วนราชการ ครูอาจารย์ชาวบ้านและผู้มีจิตศรัทธาได้ลงมติ -ให้สร้างพระพุทธรูปขึ้นมาใหม่ โดยมีหน้าตักกว้าง 30 นิ้ว สูง 2.5 เมตร และจะจัดสร้างอาคาร เพื่อเป็นที่ประดิษฐานให้สมพระเกียรติ -และบูรณะฟื้นฟูที่วังโบราณลานสะกาหมู่ที่ 6 ตำบลลานสะกา อำเภอลานสะกาจังหวัดนครศรีธรรมราช -วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 เวลา 11.00 น. ได้ขุดค้นพบแทนศิลา ที่ประทับขนาดใหญ่ของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช (การขุดค้นพบแท่นศิลาที่ประทับนี้มาจากการเข้าฝัน) พร้อมกันนี้ท่านพล.ต.ต.ขันพันธรักษ์ราชเดช ได้มีเมตตาเข้ามาช่วยเหลือ รับเป็นประธานจัดสร้างพระพุทธรูปบูชาและวัตถุมงคล โดยได้รับมอบแผ่นยันต์ลงอักขระ และมวลสารจากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หลายแห่งที่ท่านได้สะสมไว้ตลอดชีวิตของท่านให้กับชาวลานสะกา ในอดีตท่านพล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช ได้เข้ามาทำพิธีกรรมต่างๆ ในบริเวณสถานที่แห่งนี้เป็นประจำ จนมีความผูกพันเรื่อยมา... -วันที่ 7 สิงหาคม 2546 ชาวลานสะกา และผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกัน จัดงานสมโภชทองนำฤกษ์ที่พระวิหารหลวงวัดพระธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช และจัดขบวนแห่สู่วังโบราณลานสะกาเพื่อทำพิธีเจริญพระพุทธมนต์... -วันที่ 8 สิงหาคม 2546 ได้ทำพิธีบวงสรวง ดวงวิญญาณพระเจ้าศรีธรรมโศกราช หลวงปู่ขาบ ฐิตสํวโร และทำพิธีเททองหล่อโดยมี พระครูเรวัต ศิลคุณ(หลวงปู่สังข์) วัดดอนตรอ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วยพระเกจิอาจารย์นั่งปรกแผ่เมตตาจำนวนมาก... เชิญแวะชมรายการอื่นได้ที่... ร้าน"มังกรเทวา" http://www.web-pra.com/Shop/MungKornTheva TEL.081-492-9393 |
ราคาเปิดประมูล | 350 บาท |
ราคาปัจจุบัน | 360 บาท (ถึงราคาขั้นต่ำ) |
เพิ่มขึ้นครั้งละ | 10 บาท |
วันเปิดประมูล | พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:44.13 |
วันปิดประมูล | พฤ. - 07 ก.ค. 2554 - 16:50.36 |
ผู้ตั้งประมูล | |
แชร์หน้านี้ |
ข้อมูลเพิ่มเติม #1 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:45.40
จากตำนานพระเจ้าศรีธรรมโศกราชของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ว่าประมาณ พ.ศ.1700-1800 เมืองนครศรีธรรมราชมีกษัตริย์ 3 พี่น้อง
-พระเชษฐาที่ครองราชย์ทรงพระนามว่า"พระศรีธรรมโศกราช"
-องค์รองชื่อ "จันทรภาณุ"ซึ่งเป็นพระนามฐานันดรตำแหน่งอุปราช
-องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า"พงษาสุระ"
(ทุกพระองค์เมื่อขึ้นครองราชย์จะใช้พระนาม พระศรีธรรมโศกราช) ในช่วงกษัตริย์สามพี่น้องขึ้นครองราชได้สร้างความเจริญรุ่งเรืองมาก ทั้งทางอาณาจักร และศาสนจักรโดยได้ครอบครองเมืองต่างๆ ตลอดจนแหลมมาลายู ซึ่งเรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร และใช้รูปดอกบัวเป็นตราประจำเมือง
นอกจากนี้พระเจ้าศรีธรรมโศกราชยังได้บูรณะเสริมสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งเดิมแบบศรีวิชัย ให้เป็นไปตามแบบลังกา โดยก่อสถูปแบบลังกาครอบเจดีย์เดิม เมื่อสิ้นสมัยกษัตริย์สามพี่น้องเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองต่างๆ ในคาบสมุทรแหลมสุวรรณภูมิก็รวมตัวกัน มีพระราชาเป็นผู้ครอบครองประเทศ ต่อมาในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผู้ครองกรุงสุโขทัยประมาณ พ.ศ.1815-1865 ได้มีการบูรณะและสร้างระเบียงรอบองค์พระบรมธาตุ การทำกำแพงรอบทั้ง4ด้าน การสร้างวิหารติดกับเจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งเรียกว่าวิหารสามจอม
-พระเชษฐาที่ครองราชย์ทรงพระนามว่า"พระศรีธรรมโศกราช"
-องค์รองชื่อ "จันทรภาณุ"ซึ่งเป็นพระนามฐานันดรตำแหน่งอุปราช
-องค์สุดท้ายทรงพระนามว่า"พงษาสุระ"
(ทุกพระองค์เมื่อขึ้นครองราชย์จะใช้พระนาม พระศรีธรรมโศกราช) ในช่วงกษัตริย์สามพี่น้องขึ้นครองราชได้สร้างความเจริญรุ่งเรืองมาก ทั้งทางอาณาจักร และศาสนจักรโดยได้ครอบครองเมืองต่างๆ ตลอดจนแหลมมาลายู ซึ่งเรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร และใช้รูปดอกบัวเป็นตราประจำเมือง
นอกจากนี้พระเจ้าศรีธรรมโศกราชยังได้บูรณะเสริมสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งเดิมแบบศรีวิชัย ให้เป็นไปตามแบบลังกา โดยก่อสถูปแบบลังกาครอบเจดีย์เดิม เมื่อสิ้นสมัยกษัตริย์สามพี่น้องเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองต่างๆ ในคาบสมุทรแหลมสุวรรณภูมิก็รวมตัวกัน มีพระราชาเป็นผู้ครอบครองประเทศ ต่อมาในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผู้ครองกรุงสุโขทัยประมาณ พ.ศ.1815-1865 ได้มีการบูรณะและสร้างระเบียงรอบองค์พระบรมธาตุ การทำกำแพงรอบทั้ง4ด้าน การสร้างวิหารติดกับเจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งเรียกว่าวิหารสามจอม
ข้อมูลเพิ่มเติม #2 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:46.27
ในเวลาต่อมาได้มีการสร้างพระพุทธรูปแทนองค์พระเจ้าศรีธรรมโศกราช เพื่อประดิษฐานไว้ในวิหารสามจอมเรียกวิหารหลังนี้ว่า"วิหารพระศรีธรรมโศกราช"ในสมัยพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ได้เกิดไข้ห่าระบาดหนักหลายๆ ครั้ง พระองค์ต้องอพยพข้าราชบริพาร และผู้คนจำนวนหนึ่ง เพื่อหนีไข้ห่า ตามหลักฐานปรากฎว่าได้เสด็จที่ลานสะกา และสถานที่ประทับคือ"วังโบราณลานสะกา"แห่งนี้
จนสุดท้ายไข้ห่าหมดไปหรือน้อยมาก พระองค์จึงเสด็จกลับประทับที่เมืองนครศรีธรรมราชเป็นกาลถาวร สถานที่ตรงนี้จึงก่อตั้งขึ้นเป็นวัดก็คือ"วัดน้ำรอบ"(แห่งแรก)มีพระพุทธคำเพียร เป็นเจ้าอาวาส รูปแรกต่อมาพระรอด ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปสุดท้ายได้ย้ายวัดมาสร้างในสถานที่แห่งใหม่ชื่อ"วัดโคกพูน" เพราะสถานที่เดิมมีพื้นที่น้อยประกอบกับมีน้ำล้อมรอบ ไม่สามารถขยับขยายได้ สถานที่ตรงนี้จึงเป็นวัดร้าง
จนสุดท้ายไข้ห่าหมดไปหรือน้อยมาก พระองค์จึงเสด็จกลับประทับที่เมืองนครศรีธรรมราชเป็นกาลถาวร สถานที่ตรงนี้จึงก่อตั้งขึ้นเป็นวัดก็คือ"วัดน้ำรอบ"(แห่งแรก)มีพระพุทธคำเพียร เป็นเจ้าอาวาส รูปแรกต่อมาพระรอด ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปสุดท้ายได้ย้ายวัดมาสร้างในสถานที่แห่งใหม่ชื่อ"วัดโคกพูน" เพราะสถานที่เดิมมีพื้นที่น้อยประกอบกับมีน้ำล้อมรอบ ไม่สามารถขยับขยายได้ สถานที่ตรงนี้จึงเป็นวัดร้าง
ข้อมูลเพิ่มเติม #3 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:47.31
เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2510 พระท่านครูขาบ ฐิตสํวโร เจ้าอาวาสวัดน้ำรอบ (แห่งที่ 2) ได้ร่วมกับคณะพุทธบริษัทของวัดได้บูรณะขึ้นมาใหม่โดยมี นายแนบ ขุนทรานนท์ได้นำพระพุทธรูปปูนปั้นจำลองของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช มาประดิษฐานไว้เมื่อ พ.ศ. 2514
ซึ่ง พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดชได้เล่าให้ผู้ใกล้ชิดฟังว่าได้มีผู้มีอันจะกินและผู้มีจิตศรัทธาจากในตัวเมืองนครศรีธรรมราชเป็นผู้สร้างถวายตามที่หม่อมเจ้าวิภาวดีรังสิตได้แนะนำโดยได้จำลองแบบมาจากพระพุทธรูปพระเจ้าศรีธรรมโศกราชในวิหารสามจอม ของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อต้องการให้บริเวณแห่งนี้เป็นอนุสรณ์เตือนใจสำหรับคนรุ่นต่อไปว่า สถานที่แห่งนี้เคยเป็นที่ประทับของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช
ปี พ.ศ. 2518 สถานที่นี้ได้ประสบกับอุทกภัยครั้งใหญ่ พระพุทธรูปพระเจ้าศรีธรรมโศกราชก็สูญหายไปกับอุทกภัยครั้งนั้นหลังจากนั้นเป็นต้นมาชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงได้พูดและกล่าวขานกันว่าพระเจ้าศรีธรรมโศกราชมาเข้าฝันแจ้งแก่ชาวบ้านว่าพระองค์จมอยู่ใต้น้ำนานแล้วขอให้ช่วยขุดค้นหาขึ้นมา ชาวบ้านที่เชื่อความฝัน ก็เริ่มใช้เสียม ใช้จอบขุด และหาวิธีต่างๆ แต่ก็ยังขุดค้นหาพบไม่
ซึ่ง พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดชได้เล่าให้ผู้ใกล้ชิดฟังว่าได้มีผู้มีอันจะกินและผู้มีจิตศรัทธาจากในตัวเมืองนครศรีธรรมราชเป็นผู้สร้างถวายตามที่หม่อมเจ้าวิภาวดีรังสิตได้แนะนำโดยได้จำลองแบบมาจากพระพุทธรูปพระเจ้าศรีธรรมโศกราชในวิหารสามจอม ของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อต้องการให้บริเวณแห่งนี้เป็นอนุสรณ์เตือนใจสำหรับคนรุ่นต่อไปว่า สถานที่แห่งนี้เคยเป็นที่ประทับของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช
ปี พ.ศ. 2518 สถานที่นี้ได้ประสบกับอุทกภัยครั้งใหญ่ พระพุทธรูปพระเจ้าศรีธรรมโศกราชก็สูญหายไปกับอุทกภัยครั้งนั้นหลังจากนั้นเป็นต้นมาชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงได้พูดและกล่าวขานกันว่าพระเจ้าศรีธรรมโศกราชมาเข้าฝันแจ้งแก่ชาวบ้านว่าพระองค์จมอยู่ใต้น้ำนานแล้วขอให้ช่วยขุดค้นหาขึ้นมา ชาวบ้านที่เชื่อความฝัน ก็เริ่มใช้เสียม ใช้จอบขุด และหาวิธีต่างๆ แต่ก็ยังขุดค้นหาพบไม่
ข้อมูลเพิ่มเติม #4 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:48.33
วันที่ 14 มกราคม 2546 พระครูนิวิฐธรรมรักษ์ นายเอียด ศรีสุรางค์ นายชุม ศรีแฉล้ม และนายเลิศชัย ศรีแฉลิม ได้นัดประชุมราษฎรหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 6 ตำบลลานสะกา อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อปรึกษาหารือการขุดค้น ที่ประชุมลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ขุดค้นหาพระพุทธรูปพระเจ้าศรีธรรมโศกราช
โดยในระยะแรก นายเลิศชัย ศรีแฉล้มได้ใช้งบ ประมาณส่วนตัวเป็นค่าจ้างรถแบคโฮ มาดำเนินการขุดค้นหาได้เกิดปรากฏการณ์ชี้นำหลายประการ นอกเหนือความคาดหมายต่อผู้พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง จนกระทั่งได้พบชิ้นส่วนของพระพุทธรูปในตอนเย็นของวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2546 ซึ่งสร้างความปลาบปลื้มยินดีเป็นอย่างยิ่งและมีผู้คนได้แห่กันมาชื่นชม แสดงความยินดีต่อผู้ปฏิบัติงานกันอย่างเนืองแน่นทั่วทั้งบริเวณ
ในที่ประชุมครั้งต่อมาหัวหน้าคณะสงฆ์อำเภอลานสะกา หัวหน้าหน่วยราชการ ครูอาจารย์ชาวบ้านและผู้มีจิตศรัทธาได้ลงมติให้สร้างพระพุทธรูปขึ้นมาใหม่ โดยมีหน้าตักกว้าง 30 นิ้ว สูง 2.5 เมตร และจะจัดสร้างอาคาร เพื่อเป็นที่ประดิษฐานให้สมพระเกียรติ และบูรณะฟื้นฟูที่วังโบราณลานสะกาหมู่ที่ 6 ตำบลลานสะกา อำเภอลานสะกา จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดยในระยะแรก นายเลิศชัย ศรีแฉล้มได้ใช้งบ ประมาณส่วนตัวเป็นค่าจ้างรถแบคโฮ มาดำเนินการขุดค้นหาได้เกิดปรากฏการณ์ชี้นำหลายประการ นอกเหนือความคาดหมายต่อผู้พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง จนกระทั่งได้พบชิ้นส่วนของพระพุทธรูปในตอนเย็นของวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2546 ซึ่งสร้างความปลาบปลื้มยินดีเป็นอย่างยิ่งและมีผู้คนได้แห่กันมาชื่นชม แสดงความยินดีต่อผู้ปฏิบัติงานกันอย่างเนืองแน่นทั่วทั้งบริเวณ
ในที่ประชุมครั้งต่อมาหัวหน้าคณะสงฆ์อำเภอลานสะกา หัวหน้าหน่วยราชการ ครูอาจารย์ชาวบ้านและผู้มีจิตศรัทธาได้ลงมติให้สร้างพระพุทธรูปขึ้นมาใหม่ โดยมีหน้าตักกว้าง 30 นิ้ว สูง 2.5 เมตร และจะจัดสร้างอาคาร เพื่อเป็นที่ประดิษฐานให้สมพระเกียรติ และบูรณะฟื้นฟูที่วังโบราณลานสะกาหมู่ที่ 6 ตำบลลานสะกา อำเภอลานสะกา จังหวัดนครศรีธรรมราช
ข้อมูลเพิ่มเติม #5 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:49.24
วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 เวลา 11.00 น.ได้ขุดค้นพบแทนศิลา ที่ประทับขนาดใหญ่ของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช (การขุดค้นพบแท่นศิลาที่ประทับนี้มาจากการเข้าฝัน) พร้อมกันนี้ท่านพล.ต.ต.ขันพันธรักษ์ราชเดช รับเป็นประธานจัดสร้างพระพุทธรูปบูชาและวัตถุมงคล โดยได้รับมอบแผ่นยันต์ลงอักขระ และมวลสารจากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หลายแห่งที่ท่านได้สะสมไว้ตลอดชีวิตของท่านให้กับชาวลานสะกา(ในอดีตท่านพล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช ได้เข้ามาทำพิธีกรรมต่างๆ ในบริเวณสถานที่แห่งนี้เป็นประจำ จนมีความผูกพันเรื่อยมา)
วันที่ 7 สิงหาคม 2546 ชาวลานสะกา และผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกัน จัดงานสมโภชทองนำฤกษ์ที่พระวิหารหลวงวัดพระธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช และจัดขบวนแห่สู่วังโบราณลานสะกาเพื่อทำพิธีเจริญพระพุทธมนต์
วันที่ 8 สิงหาคม 2546 ได้ทำพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณพระเจ้าศรีธรรมโศกราช หลวงปู่ขาบ ฐิตสํวโร และทำพิธีเททองหล่อโดยมีพระครูเรวัต ศิลคุณ(หลวงปู่สังข์) วัดดอนตรอ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วยพระเกจิอาจารย์นั่งปรกแผ่เมตตาจำนวนมาก
วันที่ 7 สิงหาคม 2546 ชาวลานสะกา และผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกัน จัดงานสมโภชทองนำฤกษ์ที่พระวิหารหลวงวัดพระธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช และจัดขบวนแห่สู่วังโบราณลานสะกาเพื่อทำพิธีเจริญพระพุทธมนต์
วันที่ 8 สิงหาคม 2546 ได้ทำพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณพระเจ้าศรีธรรมโศกราช หลวงปู่ขาบ ฐิตสํวโร และทำพิธีเททองหล่อโดยมีพระครูเรวัต ศิลคุณ(หลวงปู่สังข์) วัดดอนตรอ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วยพระเกจิอาจารย์นั่งปรกแผ่เมตตาจำนวนมาก
ข้อมูลเพิ่มเติม #6 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:50.28
คณะกรรมการจัดสร้างได้ดำเนินการภายในคำแนะนำของ พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช อย่างเคร่งครัดทุกขั้นตอน ตั้งแต่การทำพิธีบวงสรวงขอต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์และครูบาอาจารย์ การทำพิธีเททองที่วังโบราณลานสะกาอย่างยิ่งใหญ่ การช่วยกันหามวลสาร, ว่านยาที่สำคัญ, ผงภาชนะที่คนโบราณใช้สอยที่ขุดได้ในบริเวณวังโบราณลานสะกา นำมาประกอบเป็นมวลสาร เพื่อผสมทำวัตถุมงคล
โดยมีขั้นตอนที่สำคัญ คือ การตำผงมวลสารมีพระสงฆ์ 9 รูป สวดพระพุทธมนต์ การเจิมแม่พิมพ์ การวางผงและการกดพิมพ์
ด้วยเหตุนี้การจัดสร้างวัตถุมงคลรุ่นนี้จึงต้องใช้ระยะเวลาที่ยาวนาน อันเนื่องมาจากการสรรหามวลสารที่ดีที่สุด การหาฤกษ์ยามที่ดีที่สุด การกำหนดสถานที่เพื่อประกอบพิธีโดยที่คณะกรรมการจัดสร้าง
และชาวลานสะกา มีความตระหนักเพื่อปรารถนาที่จะให้ท่านผู้มีจิตศรัทธาและบริจาคทรัพย์ ได้รับวัตถุมงคลที่มีคุณค่าไว้เป็นที่ระลึกเพื่อเคารพบูชาที่มากด้วยพุทธคุณ และความหมายความเป็นมาทางประวัติศาสตร์เป็นสำคัญ
โดยมีขั้นตอนที่สำคัญ คือ การตำผงมวลสารมีพระสงฆ์ 9 รูป สวดพระพุทธมนต์ การเจิมแม่พิมพ์ การวางผงและการกดพิมพ์
ด้วยเหตุนี้การจัดสร้างวัตถุมงคลรุ่นนี้จึงต้องใช้ระยะเวลาที่ยาวนาน อันเนื่องมาจากการสรรหามวลสารที่ดีที่สุด การหาฤกษ์ยามที่ดีที่สุด การกำหนดสถานที่เพื่อประกอบพิธีโดยที่คณะกรรมการจัดสร้าง
และชาวลานสะกา มีความตระหนักเพื่อปรารถนาที่จะให้ท่านผู้มีจิตศรัทธาและบริจาคทรัพย์ ได้รับวัตถุมงคลที่มีคุณค่าไว้เป็นที่ระลึกเพื่อเคารพบูชาที่มากด้วยพุทธคุณ และความหมายความเป็นมาทางประวัติศาสตร์เป็นสำคัญ
ข้อมูลเพิ่มเติม #7 พ. - 29 มิ.ย. 2554 - 21:52.26
หมายเหตุ. ใช้รูปแทน แต่องค์จริงรับประกันความงาม...ขอรับ
การประมูลพระเครื่องนี้ ถูกปิดโดยระบบแล้ว
กรุณาทำการ Login เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการประมูลใดๆ |
กำลังโหลด...