ชุดพระเครื่อง เบญจภาคี ภ.ป.ร - webpra

ชุดพระเครื่อง เบญจภาคี ภ.ป.ร

บทความพระเครื่อง เขียนโดย tae96

tae96
ผู้เขียน
tae96 (162) (-3)
บทความ : ชุดพระเครื่อง เบญจภาคี ภ.ป.ร
จำนวนชม : 244
เขียนเมื่อวันที่ : พฤ. - 11 เม.ย. 2567 - 12:35.12
(คลิ๊กที่ชื่อผู้เขียนผู้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้เขียน)

ชุดพระเครื่อง เบญจภาคี ภ.ป.ร.

https://allonline.link/r/K3rAX

พระเกจิ : พิธีมหาพุทธาภิเษก ในวันที่ 29 พ.ย.2549 เวลา 17.00 น. ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) โดยพระเกจิอาจารย์จากทั่วประเทศร่วมทำพิธี 

ชื่อวัด : จัดสร้างโดย วิทยาลัยการอาชีพ วังไกลกังวล

พุทธคุณ : แคล้วคลาด ปลอดภัย คงกระพันชาตรี โชคลาภ เมตตามหานิยม มหาเสน่ห์

เนื้อวัตถุมงคล : ผง,ดิน

ขนาดวัตถุมงคล : พระสมเด็จวัดระฆัง 2.3x3.5x0.5 ซม., พระผงสุพรรณ2x2.8x0.5 ซม., พระรอด 1.2x2.3x0.5 ซม., ซุ้มกอ1.8x2.2x0.3 ซม., นางพญา2x2.9x0.7x0.5x ซม.

น้ำหนักวัตถุมงคล : 0.1 กก.

จำนวนจัดสร้าง : 300,000 องค์

พระชุดเบญจภาคี ภ.ป.ร. เฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ปี2549 ดำเนินโครงการโดย วิทยาลัยการอาชีพ วังไกลกังวลเลขโค๊ต 003466 มีใบเซอร์ พร้อมกล่องสีเหลืองทองเดิมๆ-พระเบญจภาคี ภ.ป.ร. เฉลิมพระเกียรติครองราชย์ครบ 60 ปี ของในหลวงรัชกาลที่ 9ปี 49-มวลสารทุกองค์มาจากต้นกำเนิดของพระเบญจภาคี รวมถึงแกะพิมพ์จากพระเบญจภาคีองค์ครูของท่าน กำนันชูชาติ
มหาพุทธาภิเษกจากพระเกจิชื่อดังทั่วประเทศนั่งปลุกเสก ณ. วัดพระแก้ว ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2549 เวลา 17.00 น.
โดยได้รับอนุญาตอัญเชิญ ภ.ป.ร. ประทับหลังองค์พระพร้อมหมายเลขกำกับทุกองค์ (บรรจุในกล่องกำมะหยี่สีเหลืองอย่างสวยงาม)
เป็นข่าวดีสำหรับท่านที่ยังไม่มีไว้ครอบครองบูชา (พิเศษบูชา 1,999 มีจำนวนจำกัด)
มวลสารจากเจ้าอาวาสของวัดต้นกำเนิด และผงอิทธิเจ ปัตทมังของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต
1. พระเทพวิสุทธิเมธี เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารม กรุงเทพ มวลสาร พระสมเด็จวัดระฆัง
2. พระครูสุจิต ธรรมวิมล เจ้าอาวาสวัดนางพญา จ.พิษณุโลก มวลสาร พระนางพญา
3. พระครูพิศาลธรรมนิเทศก์ เจ้าอาวาสวัดมหาวัน จ.ลำพูน มวลสาร พระรอด
4. พระอาจารย์บุณภิสิทธิ์ สุทธิญาโณ เจ้าอาวาสวัดพิกุล จ.กำแพงเพชร มวลสาร พระกำแพงซุ้มกอ
5. พระมหาวิเชียร กลุยาโณ เจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.สุพรรณบุรี มวลสาร พระผงสุพรรณ

ชุดพระเบญจภาคี ภ.ป.ร

ชุดพระเบญจภาคี ภ.ป.ร

พระสมเด็จวัดระฆัง (พิมพ์ใหญ่)
แคล้วคลาดและเมตตามหานิยม
เป็นพระเครื่องบูชาที่ได้รับสมญานามว่าเป็น จักรพรรดิแห่งพระเครื่อง
วิเศษด้วยพุทธนุภาพ เข้มแข็งใน กฤตยาคมเอกอุในประสพการณ์ และอิทธิปาฏิหาริย์
เพียบพร้อมด้วยพระพุทธคุณ ทั้งแคล้วคลาดและเมตตามหานิยม

พระนางพญา (พิมพ์เข่าโค้ง)
เมตตามหานิยมและเสน่ห์
เป็นพระเครื่องบูชายอดนิยมชั้นนำระดับเดียวกันกับพระสมเด็จวัดระฆัง มีพุทธคุณสูง
ทางด้านเมตตามหานิยมเป็นเลิศ และเป็นยอดในทางด้านเสน่ห์ พุทธคุณความศักดิ์สิทธิ์ในองค์พระ
เมื่อมีผู้นำไปบูชาแล้วมีประสพการณ์ ก็โจทย์ขานเล่าลือไปทั่วทั้งแผ่นดิน

พระผงสุพรรณ (พิมพ์หน้าแก่)
โชคลาภและคงกระพันชาตรี
เป็นพระเครื่องบูชาองค์หนึ่งในชุดพระเบญจภาคี มีคุณวิเศษในด้าน
แค้วคลาดปลอยภัย สยบสิ่งที่เป็นอัปมงคลอุดมด้วยเมตตามหานิยม
เหมาะสำหรับพกพาติดตัวเมื่อเดินทางไกล

พระรอด (พิมพ์ใหญ่)
โชคลาภและแคล้วคลาดภยันตราย
เป็นพระเครื่องเพชรน้ำเอกของจังหวัดลำพูน จัดอยู่ในทำเนียบพระหลัก
สุดยอดนิยมองค์หนึ่ง ขอบภาคเหนือตอนบน มีพุทธคุณสูงทางด้านแคล้วคลาด
จากภยันตรายต่างๆ และดียิ่งทางด้านโชคลาภ และความสำเร็จต่างๆ ที่เราประสงค์

พระกำแพงซุ้มกอ (พิมพ์ใหญ่)
โชคลาภและเมตตามหานิยม
เป็นพระเครื่องเพชรน้ำเอกของจังหวะกำแพงเพชร จัดอยู่ในทำเนียบ
พระหลักสุดยอดนิยม มีพุทธานุภาพสูงในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านโชคลาภ และทรัพย์สิน
ผู้ใดมีพระเครื่ององค์นี้ไว้บูชา ทั้งชีวิตจะไม่พบกับความยากจน ขาดแคลน มีแต่จะทวีทรัพย์ยิ่งๆ ขึ้นไป

 

พิธีพุทธาพิเษก

ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร พระเกจิคณาจารย์ ชื่อดังที่มีชื่อเสียงหลายรูป

 

พระเบญจภาคีภ.ป.ร1

พระเบญจภาคีภ.ป.ร2

พระเบญจภาคีภ.ป.ร3

 

รายชื่อพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศ
1. สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาสังฆปรินายก สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหาร
2. สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี วัดราชบพิธ
3. สมเด็จพระพุทธชินวงค์ วัดมงกุฏกษัตริยาราม
4. สมเด็จพระญาณวโรดม วัดเทพศิรินทร์
5. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดสัมพันธ์วงศ์
6. สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศ
7. สมเด็จพระมหาธีราจารย์ วัดชนะสงคราม
8. สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ วัดปากน้ำ กทม.
9. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสุวรรณาราม
10. หลวงปู่ทิม วัดพระขาว อยุธยา
11. หลวงพ่อรวย วัดตะโก อยุธยา
12. หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว อยุธยา
13. หลวงพ่อพูล วัดบ้านแพน อยุธยา
14. หลวงพ่อเจือ วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
15. หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง เพชรบุรี
16. หลวงพ่อแย้ม วัดตะเคียน นนทบุรี
17. หลวงพ่อพูลทรัพย์ วัดอ่างศิลา ชลบุรี
18. หลวงพ่อสวัสดิ์ วัดศาลาปูน อยุธยา
19. หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม อยุธยา
20. หลวงพ่อทอง วัดพระธาตุจอมทอง เชียงใหม่
21. หลวงพ่อเนื่อง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม
22. หลวงพ่อทองสืบ วัดอินทรวิหาร กทม.
23. หลวงปู่แหวน วัดมหาธาตุ กทม.
24. หลวงพ่อธงชัย วัดไตรมิตร กทม.
25. หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดไทรน้อย นนทบุรี
26. หลวงพ่อเก๋ วัดปากน้ำ ปทุมธานี
27. หลวงพ่อทองใบ วัดสายไหม ปทุมธานี
28. หลวงพ่อทองกลึง วัดเจดีย์หอย ปทุมธานี
29. หลวงพ่อวิเชียร วัดมูลจินดา ปทุมธานี
30. หลวงพ่อทองหล่อ วัดคันลัด สมุทรปราการ
31. หลวงพ่อสมโภชน์ วัดแค สมุทรปราการ
32. หลวงพ่อจรัญ วัดบางพลีใหญ่ใน สมุทรปราการ
33. หลวงพ่อเฉลิม วัดพระญาติ อยุธยา
34. หลวงพ่อแม้น วัดหน้าต่างนอก อยุธยา
35. หลวงพ่อสงวน วัดเสาธงทอง ลพบุรี
36. หลวงพ่อสมพร วัดป่าธรรมโสภณ ลพบุรี
37. หลวงพ่อป่วน วัดบรรหารแจ่มใส สุพรรณบุรี
38. หลวงพ่อสอิ้ง วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
39. หลวงพ่อสุนทร วัดเพชรสมุทร สมุทรสงคราม
40. หลวงพ่ออิฐ วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
41. หลวงพ่อแดง วัดอินทาราม สมุทรสงคราม
42. หลวงพ่อมาลัย วัดบางหญ้าแพรก สมุทรสงคราม
43. หลวงพ่อขาว วัดสาวชะโงก ฉะเชิงเทรา
44. หลวงพ่อสมศักดิ์ วัดโสธร ฉะเชิงเทรา
45. หลวงพ่อสมชาย วัดโพรงอากาศ ฉะเชิงเทรา
46. หลวงพ่อฉิ้น เมืองยะลา
47. หลวงพ่อกลัง เขาอ้อ
48. หลวงพ่อพรหม วัดบ้านสวน พัทลุง
49. หลวงพ่อจ่าง วัดน้ำรอบ สุราษฏร์ธานี
50. หลวงพ่อบุญศรี วัดนาคาราม ภูเก็ต
51. หลวงพ่อเสนอ วัดตะโปทาราม ระนอง
52. หลวงพ่อห่วง วัดดอนกาหลง สตูล
53. หลวงพ่อนวน วัดประดิษฐานราม นครศรีธรรมราช
54. หลวงพ่อผัน วัดทรายขาว สงขลา
55. หลวงพ่ออุทธีร์ วัดเวฬุวัน ร้อยเอ็ด
56. หลวงพ่อเที่ยง วัดพระบาทเขากระโพง บุรีรัมย์
57. หลวงพ่อทองจันทร์ วัดคำแคน กาฬสิทธิ์
58. หลวงพ่อสมเกียรติ วัดมหาวนาราม อุบลราชธานี
59. หลวงพ่อไพรินทร์ วัดพระศรีมหาธาตุ พิษณุโลก
60. หลวงพ่อแขก วัดอรัญญิก พิษณุโลก
61. หลวงพ่อธงชัย วัดพระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่
62. หลวงพ่อสมพงษ์ วัดใหม่ปิ่นเกลียว นครปฐม
63. หลวงพ่อศรี วัดหน้าพระลาน สระบุรี
64. หลวงพ่อบุญธรรม วัดตะเคียน อ่างทอง
65. หลวงพ่อทอด วัดหนองสุ่ม สิ่งห์บุรี
66. หลวงพ่อประเทือง วัดบางกระเบา ปราจีนบุรี
67. หลวงพ่อแย้ม วัดสามง่าม นครปฐม
68. หลวงพ่อแก่น วัดใหญ่ชัยมงคล อยุธยา
69. หลวงพ่อเกตุ วัดอุดมธานี นครนายก
70. พระครูอนุกูลพิศาลกิจ วัดบางพระ นครปฐม
71. พระครูเฉลียง วัดมหาธาตุ กทม.
72. พระครูประดิษฐ์นวกิจ วัดท่าตะคร้อ กาญจนบุรี
73. พระครูภาวนาวรกิจ วัดสันติคีรีศรีบรมธาตุ กาญจนบุรี
74. หลวงพ่อชาญ สำนักสงฆ์ป่ากลางบุญ นครสวรรค์

 

วัตถุประสงค์ในการจัดสร้าง

จัดสร้างพระเครื่องบูชา ชุดภ.ป.ร. มอบให้ผู้บริจาคทรัพย์ร่วมสร้างวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล และซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอนให้กับโรงเรียน

 

ดำเนินการจัดสร้างโดย

จัดสร้างโดย วิทยาลัยการอาชีพ วังไกลกังวล

 

หมายเหตุ

1.พระแต่ละองค์อาจแตกต่างจากภาพ เนื่องจากเป็นพระเก่าที่สะสมไว้อยู่ในสภาพแวดล้อมไม่เหมือนกัน

2.ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนวัตถุมงคล และกรุณาตรวจสอบความสมบูรณ์ของวัตถุมงคลก่อนออกจากร้าน เซเว่น อีเลฟเว่น

3.วัตถุมงคลอาจมีคราบดำ มีรูหรือรอยต่างๆที่เกิดจากกรรมวิธีการสร้าง หน้าตาอาจไม่คมชัด ซึ่งเป็นเสน่ห์ของพระแต่ละองค์ ทางวัดขออนุโมทนาในการร่วมสร้างบุญมา ณ โอกาสนี้

https://allonline.link/r/K3rAX

Top